วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

Pipeline

โปรเซสเซอร์

:ปี 1989 Intel ประกาศตัว 80486 ซึ่งเป็นซีพียูแบบ 32 บิต พร้อมเปิดตัวสิ่งที่เรียกว่า ”ไปป์ไลน์”(Pipeline)
:ไปป์ไลน์ช่วยให้ซีพียูสามารถเฟ็ตช์คำสั่งเข้ามาทำงานได้หลาย ๆ คำสั่งในเวลาเดียวกันได้ โดยเอ็กซิคิวต์ในแต่ละคำสั่งในแต่ละสัญญาณนาฬิกา (Clock cycle) เรียกการทำงานแบบนี้ว่า “สเกลลาร์(Scalar)
:ปี 1993 ได้เปิดตัวซีพียูในยุคที่ 5 ที่เรียกว่า “Pentium” โดยนำไปป์ไลน์มาใส่ไว้ในซีพียูถึง 2 ตัว ทำงานแบบขนานพร้อม ๆ กัน โดยไม่ขึ้นต่อกัน ทำให้สามารถเอ็กซิคิวต์ได้ 2 คำสั่งใน 1 สัญญาณนาฬิกา
:เรียกสถาปัตยกรรมนี้ว่า “ซุปเปอร์สเกลลาร์” (Superscalar)
Pipeline
:ไปป์ไลน์ (Pipeline) คือการทำงานแบบคาบเกี่ยวกัน (overlap) โดยการแบ่งซีพียูออกเป็นส่วนย่อย ๆ แล้วแบ่งงานกันรับผิดชอบ
:เดิมไปป์ไลน์เป็นเทคนิคของสถาปัตยกรรมแบบ RISC ต่อมานำมาใช้กับสถาปัตยกรรมแบบ CISC
:ภาคเฟ็ตช์คำสั่ง (Instruction Fetch)
:แบ่งเป็นภาคหลัก ๆ คือ
:ภาครับข้อมูล (Get Operands):ภาคเอ็กซิคิวต์ (Execute)
:ภาคการถอดรหัสคำสั่ง (Instruction Decode)
ภาคเขียนผลลัพธ์ (Write Result)

ขั้นตอนการทำงานของ Pipeline 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น